|
1) |
ปราสาทพนมวัน จ.นครราชสีมา - จารึกของพระเจ้ายโศวรมเทวะที่ 1 |
|
|
2) |
เมืองเพนียด จ.จันทบุรี - จารึกของพระเจ้ายโศวรมเทวะที่ 1 |
|
|
3) |
??? - - จารึกของพระเจ้าหรรษวรมเทวะที่ 1 |
|
|
4) |
??? - - จารึกของพระเจ้าอิสานวรมเทวะที่ 2 |
|
|
5) |
??? - - จารึกของพระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 4 |
|
|
6) |
??? - - จารึกของพระเจ้าราเชนทรวรมเทวะ |
|
|
7) |
??? - - จารึกของพระเจ้าชยวรมเทวะที่ 5 |
|
|
8) |
จารึกศาลสูงหลักที่ 1 จ.ลพบุรี - จารึกของพระเจ้าหรรษวรมเทวะที่ 1 |
จารึกระบุถึงพระราชโองการของพระเจ้าสูริยวรมเทวะที่ 1 ว่าให้ดาบส ภิกษุในพุทธศาสนามหายานและเถรวาทถวายตบะแก่พระองค์ |
|
9) |
จารึกสด๊กก๊อกธม 2 ปราสาทสด๊กก๊อกธม อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว - จารึกของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมเทวะที่ 2 |
จารึกกล่าวเรื่อง "เทวราชา" ตระกูลพราหมณ์ที่ทำหน้าที่ประกอบพิธีฯ
รายละเอียดดูใน 09. จารึกสด็กก๊อกธม |
|
10) |
จารึกของพระเจ้าชยวรมเทวะที่ 7 ในหลายหลักดินแดนไทย - โดยเฉพาะ "จารึกประจำอโรคยศาล"02 |
พบหลายหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
|
11) |
พระชัยพุทธมหานาถ - พระเจ้าชยวรมเทวะที่ 7 ในวิหารต่าง ๆ 23 แห่ง - พระเจ้าชยวรมเทวะที่ 7 |
บางแห่งประจำอยู่ในภาคกลางและภาคตะวันตกของไทย ได้แก่
- ลโว้ทยปุระ (ลพบุรี)
- สุวรรณปุระ (สุพรรณบุรี)
- ศัมพูกปัฏฏนะ (สระโกสินารายณ์)
- ชัยราชบุรี (ราชบุรี)
- ศรีชยสิงหบุรี (เมืองสิงห์)
- ศรีชยวัชรบุรี (เพชรบุรี)
- ฯ
|
|
12) |
วหนิคฤหะ (บ้านพร้อมไฟตามเส้นทางจากเมืองพระนครไปสู่เมืองอื่น ๆ ) - พระเจ้าชยวรมเทวะที่ 7 |
รวมถึงเส้นทางที่มาสู่พิมายใน จ.นครราชสีมาด้วย |
|
13) |
ปราสาทสระกำแพงน้อย |
อโรคยศาลา (บ้างก็เรียก อโรคยศาล) สมัยพระเจ้าชยวรมเทวะที่ 7 |
|
14) |
ปราสาทเขาปู่จ่า - สุโขทัย |
|
|
15) |
ศาลตาผาแดง - สุโขทัย |
|
|
16) |
ปราสาทวัดพระพายหลวง - สุโขทัย |
|
|
17) |
ปราสาทวัดเจ้าจันทร์ - ศรีสัชนาลัย สุโขทัย |
|
|
18) |
ปราสาทเมืองสิงห์ - กาญจนบุรี |
|
|
19) |
โบราณสถานสระโกสินารายณ์ |
|
|
20) |
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.ราชบุรี |
|
|
21) |
ปราสาทวัดกำแพงแลง จ.เพชรบุรี |
|
|
22) |
ปรางค์แขก จ.ลพบุรี |
|
|
23) |
ศาลพระกาฬ จ.ลพบุรี |
|
|
24) |
พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี |
ปราสาทองค์กลางสันนิษฐานว่าประดิษฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก ปราสาทองค์ใต้ประดิษฐานพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และปราสาทองค์เหนือประดิษฐานนางปรีชญาปารมิตา |
|
25) |
โบราณสถานที่เนินทางพระ จ.สุพรรณบุรี |
|
|
26) |
ปราสาทหินพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ |
ทับหลัง ตรงกลางสลักรูปบุคคลต่อสู้กับสิงห์และช้าง น่าจะหมายถึง พระกฤษณะต่อสู้กับช้างกุวัลยปิถะและสิงห์
มีภาพสลักฤๅษีนั่งในท่าโยคาสนะประนมมือ เกล้าผมมวยมีหนวดเครา |
|
27) |
ปราสาทเมืองต่ำ จ.บุรีรัมย์ |
ทับหลังจากปราสาทเมืองต่ำ ตรงกลางสลักรูปบุคคลต่อสู้กับนาค ซึ่งหมายถึง พระกฤษณะต่อสู้กับนาคกาลียะ |
|
28) |
ปราสาท (หิน) สระกำแพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ |
ทับหลังด้านตะวันออกของโคปุระทิศตะวันออก มีภาพหินสลักพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณอยู่เหนือหน้ากาล ไม่ไกลจากปราสาทมากนัก มีสระน้ำขนาดใหญ่ ชาวบ้านเรียกกันว่าสระกำแพง ซึ่งสระดังกล่าวคงเป็นบารายของชุมชนเขมรโบราณนั่นเอง |
|
29) |
ปราสาทกู่กาสิงห์ จ.ร้อยเอ็ด |
ในกลุ่มปราสาทประธานสามองค์นั้น ตั้งอยู่บนฐานไพที ปราสาทประธานมีขนาดใหญ่ที่สุด และมีมณฑปต่อยื่นออกมาทางด้านหน้า
ทับหลังปราสาทกู่กาสิงห์ แสดงให้เห็นว่าปราสาทนี้สร้างในช่วงศิลปะแบบบาปวน หน้ากาลอยู่ต่ำลงมาชิดขอบล่าง คลายท่อนพวงมาลัยออก เหนือหน้ากาลมีรูปเทพเจ้า มีภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ |
|
30) |
ปราสาทหินพิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา |
หน้าบันปราสาท เป็นรูปพระพรหมทรงหงส์ ซึ่งภาพพระพรหมอยู่เดี่ยว ๆ เป็นเอกเทศพบน้อยมาก ส่วนใหญ่มักอยู่รวมกับเทพองค์อื่น ๆ |
|
31) |
ปราสาทตาเมือนธม อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ |
เป็นปราสาทที่ยังสร้างไม่เสร็จ ตั้งอยู่บนแนวของเทือกเขาพนมดงรัก ลวดลายประดับค่อนข้างสมบูรณ์เฉพาะรอบ ๆ ครรภคฤหะของปราสาทประธาน ขณะที่ส่วนอื่น ๆ รวมถึงปราสาทบริวาร ยังมิได้เริ่มแกะสลัก เป็นศิลปะแบบบาปวน |
|
32) |
พระธาตุนารายณ์เจงเวง (บ้างก็เรียก ปราสาทนารายณ์แจงแวง) อ.เมือง จ.สกลนคร |
ช่วงปลายศิลปะบาปวน-นครวัด ปัจจุบันเหลือเฉพาะปราสาทประธานองค์เดียว สร้างด้วยหินทราย หันหน้าไปทิศตะวันออก |
|
33) |
ปราสาทพระวิหาร จ.ศรีสะเกษ และกัมพูชา |
|
|
34) |
ปราสาทบ้านพลวง จ.สุรินทร์ |
หน้าบันรูปพระกฤษณะยกเขาโควรรธนะ |
|
35) |
กุฏิฤๅษีหนองบัวราย จ.บุรีรัมย์ |
|
|
36) |
ปราสาทกู่พราหมณ์จำศีล จ.นครราชสีมา |
ศิลปะนครวัด ทับหลัง ตรงกลางเหนือหน้ากาลขึ้นไป สลักภาพพระนารายณ์สี่กรทรงครุฑเป็นพาหนะ
ทับหลังด้านตะวันตกของโคปุระทิศตะวันตกของปราสาทกู่พราหมณ์จำศีล มีภาพสลักพระวรุณทรงหงส์ เทพประจำทิศตะวันตก |
|
37) |
ปราสาทหินศีขรภูมิ |
ทับหลัง แสดงพระคเณศและพระพรหม กำลังทรงดนตรีประกอบจังหวะให้พระศิวะฟ้อนรำ |
|
38) |
ปรางค์สองพี่น้อง เมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ |
|
|
39) |
ปราสาทกู่สวนแตง หรือ ปรางค์กู่สวนแตง จ.บุรีรัมย์ |
มีศิลาที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย "วามนาวตาร" มุมซ้ายปรากฎรูปท้าวพาลี กำลังหลั่งน้ำมอบผืนดินแก่พราหมณ์เตี้ย (วามน) ตรงกลางและด้านขวา ได้แก่พระวิษณุ กำลังเหยียบแผ่นดินทั้งสาม และปราบท้าวพลี |
|
40) |
ปราสาทเมืองแขก จ.นครราชสีมา |
ทับหลัง เล่าเรื่องมหิษาสุรมรรทนีอยู่กลางทับหลัง นางทุรคาถืออาวุธ ประทับยืนอยู่เหนืออสูรรูปควาย ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย |
|
41) |
ปราสาทเปียน้อย อ.เปียน้อย จ.ขอนแก่น |
ทับหลังแสดงคชลักษมีหรืออภิเษกศรี พระศรีหรือพระลักษมี ประทับนั่งตรงกลาง ในพระหัตถ์ถือบางสิ่งซึ่งอาจจะเป็นดอกบัว ซ้ายและขวามีช้างสองเชือกกำลังชูงวงขึ้นประพรมน้ำรดพระองค์ |
|
42) |
ปรางค์กู่ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ |
แท่นหินเหนือทับหลัง มีภาพสลักแสดงพุทธประวัติตอนออกมหาภิเนษกรมณ์ เจ้าชายสิทธัตถะประทับบนหลังม้า แวดล้อมด้วยเหล่าเทวดา
หน้าบัน มีภาพสลักพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสี่กร แวดล้อมด้วยบริวารหรือผู้มาสักการบูชา |
|
43) |
ปราสาทพนมวัน อ.เมือง จ.นครราชสีมา |
เป็นศาสนสถานที่สร้างยังไม่เสร็จสมบูรณ์ |
|
44) |
ปราสาทสด๊กก๊อกธม อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว |
|
|
45) |
ปราสาทตาเมือนโต๊จ อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ |
อยู่ไม่ไกลจากปราสาทตาเมือนธม ปราสาทนี้สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 7 เป็นศาสนสถานประจำธรรมศาลา หรือ บ้านมีไฟ หรือที่พักคนเดินทาง |
|
46) |
กู่โพนระฆัง จ.ร้อยเอ็ด |
พบศิลาจารึกประจำอโรคยศาล เนื้อหากล่าวถึง การประดิษฐานรูปเคารพในอโรคยศาล การแบ่งหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประจำอโรคยศาล ตลอดจนสมุนไพรที่ใช้รักษา |
|
47) |
กู่บ้านเมย ต.หนองสองห้อง อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น |
ทับหลังสลักภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ศิลปะลพบุรี พ.ศ.ที่ 16-17 |
|
48). |
พระธาตุภูเพ็ก จ.สกลนคร |
|
|
49). |
ปราสาทเขาโล้น อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว |
|