กษัตริย์ |
ช่วงครองราชย์ |
ศาสนาสถานที่สร้าง, การบูรณะ หรือ การต่อเติม
(Temples begun, rebuilt, or added to) |
รูปแบบศิลปะ |
1. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 2 (Jayavarman II) หรือพระเกตุมาลา08,09 นักวิชาการบางท่านเรียก พระบาทปรเมศวร12 |
พ.ศ.1345-1392 (ค.ศ.790-835) |
พระอารามหรือปราสาทรุ่งแจ้ง?? ดูใน 25. พระอารามรุ่งแจ้ง บนเขาพนมกุเลน (มเหนทรบรรพต) ก่อนการจัดตั้งปราสาทที่กุฏิสวาระ ดูใน 26. ปราสาทกุฏิสวาระ (Rong Chen on Phnom Kulen, earlier shrine on the site of Kutisvara)10 บาพนม, อนินทิตาปุระ, เมืองหริหราลัย (ร่อลั่ว บ้างก็เรียก โรลั้วะ หรือ ร่อสวย หมายถึง ต้นทองหลางพันธุ์หนึ่งซึ่งไม่ใช่พันธุ์ที่คนไทยรู้จัก) |
ในสมัยเมืองพระนครนี้ อิทธิพลศิลปะแบบจามปาแพร่หลาย
กุเลน พ.ศ.1370-1420 (ค.ศ.800-870) |
2. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 3 (Jayavarman III) (วิษณุโลก) |
(พ.ศ.1393-1420) (ค.ศ.835-877) |
ปราสาทไพรมนตรี (ดูใน 27. ปราสาทไพรมนตรี), ปราสาทตระพังพง (ดูใน 28. ปราสาทตระพังพง), ปราสาทบากอง (ดูใน 16. ปราสาทบากอง) (Prei Monti, Trapeang Phong, Bakong), เมืองหริหราลัย (โลเลย หรือ ร่อลั่ว)??? |
3. พระเจ้าอินทรวรมเทวะที่ 1 (Indravarman I) (อิศวรโลก) |
พ.ศ.1420-1432
(ค.ศ.877-c.886) |
ปราสาทพระโค (ดูใน 01. ปราสาทพระโค) สร้างหินทรายหุ้มปราสาทบากองไว้, บารายอินทรฏะฎะกะ หรือ บารายยโสตฏากะ หรือ อินทรตฎากะ (บารายตะวันออก) (Preah Kô, sandstone cladding of Bakong, Indratataka baray), เมืองหริหราลัย (ร่อลั่ว) |
พระโค พ.ศ.1420-1440 (ค.ศ.880-900, จารึกบ่ออีกา, จารึกบ้านโนนสังข์-ยโสธร |
4. พระเจ้ายโศวรมเทวะที่ 1 (Yasovarman I) (บรมศิวโลก) บ้างก็เขียน ยโสวรมเทวะที่ 1 |
พ.ศ.1432-1458 (ค.ศ.889-c.915) |
ปราสาทโลเลย (ดูใน 20. ปราสาทโลเลย), ปราสาทบาแคง (ดูใน 08. ปราสาทพนมบาแคง), ปราสาทเบย (ดูใน 29. ปราสาทเบย), ปราสาทธมบายไง (ดูใน 30. ปราสาทธมบายไง), จัดตั้งปราสาทพิมานอากาศในระยะแรก, ปราสาทพนมกรอม, ปราสาทพนมบก, บารายยโสตฏากะ (บารายตะวันออก) (Lolei, Bakheng, Prasat Bei, Thma Bay Kaek, earlier shrine on the site of Phimeanakas, Phnom Krom, Phnom Bok, East Baray) เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร), พนมกังดาล (หรือ พนมกันดาล) |
บาแค็ง พ.ศ.1440-1470 (ค.ศ.900-930), จารุกพนมวัน, ปักษีจำกรง, อาณาเขตถึงสะเทิม-ไชยา, ปราสาทวัดศรีสวาย |
5. พระเจ้าหรรษวรมเทวะที่ 1 (Harshavarman I) (รุทรโลก) |
พ.ศ.1458-Late 1466 (ราว ค.ศ.915-923) |
ปราสาทปักษีจำกรง, ปราสาทกระวาน (Baksei Chamkrong, Prasat Kravan) เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) พนมกังดาล - บาแค็ง, (ขึ้นครองราชย์แต่เล็ก) |
6. พระเจ้าอิศานวรมเทวะที่ 2 (Isanavarman II) (บรมรุทรโลก) |
พ.ศ.1468 (ค.ศ.923-c.928) |
เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) (ขึ้นครองราชย์ระยะสั้น ไม่มีบทบาทในการปกครองอาณาจักร) |
7. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 4 (Jayavarman IV) (บรมศิวบท) |
พ.ศ.1470-1485 (ค.ศ.c.928-c.941) |
เมืองโฉกครรกยาร์ - อาณาจักรเกาะแกร์ (ดงตะเคียน) (Koh Ker Site) (ยึดอำนาจจากหรรษวรมเทวะที่ 2 แล้วย้ายศูนย์ไปเกาะแกร์) |
เกาะแกร์ พ.ศ.1465-1490 (ค.ศ.900-950), ปราสาทภูฝ้าย, กู่บ้านปราสาท, จารึกลพบุรี, ศรีจนาศะ, ปราสาทอิฐ 8 มูรติที่พนมรุ้ง โนนกู่ เมืองแขก สังข์ศิลปชัย, ปราสาทปลายบัด 1 2 |
8. พระเจ้าหรรษวรมเทวะที่ 2 (Harshavarman II) (พรหมโลก) |
พ.ศ.1485 - 1487 (ค.ศ.c.941-944) |
เมืองโฉกครรกยาร์ - อาณาจักรเกาะแกร์ (ดงตะเคียน) (Koh Ker Site) |
9. พระเจ้าราเชนทรวรมเทวะ (Rajendravarman) (ศิวโลก) |
พ.ศ.1478-1511 (ค.ศ.944-968) |
ปราสาทแปรรูป, ปราสาทแม่บุญตะวันออก, Bat Chum, Kutisvara, บันทายสรี, ระยะแรกของปราสาทบันทายกุฎี, สระสรง, ปักษีจำกรง (Pre Rup, East Mebon, Bat Chum, Kutisvara, Banteay Srei, an eralier temple on the site of Banteay Kdei, Sra Srang, Baksei Chamkrong) เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร 2) (ย้ายศูนย์กลางกลับยโสธรปุระ - พระนคร, สงครามชนะจาม) |
แปรรูป พ.ศ.1490-1510 (ค.ศ.950-970) จารึกพังงวย, วัดมะกอก-สระแก้ว สุรินทร์, ปราสาทตำหนักไทรสมัย 2, ปราสาทประธานเมืองต่ำ, ปรางค์แขก, โดนตวล |
10. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 5 (Jayavarman V) (บรมวีรโลก) |
พ.ศ.1511-1544 (ค.ศ.968-c.1000) |
ปราสาทตาแก้ว (Takeo) เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) (พระโอรสสืบทอดบัลลังก์ ช่วงเวลาสันติอันยาวนาน) |
บันทายสรี (พ.ศ.1510-1560) (ค.ศ.970-1202) จารึกเสมา อุบมุง-อุบลฯ, ภูมิโปน เมืองแขก พนมรุ้ง, ปราสาทวัดปรางค์, พระโค, บ้านใหม่ |
11. พระเจ้าอุทัยทิตยวรมเทวะที่ 1 (Udayadityavarman I) |
พ.ศ.1545 (ค.ศ.1001-1002) |
เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) (ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลง) |
12. พระเจ้าชัยวีรวรมเทวะ (Jayaviravarman) |
พ.ศ.1545-1553 (ค.ศ.1002-1010) |
ปราสาทคลังเหนือ, บูรณะปราสาทตาแก้วต่อ (North Khleang, a continuation of Takao) เมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) |
13. พระเจ้าสูริยวรมเทวะที่ 1 (Suryavarman I) (บรมนิรวาณบท)
มีชัยชนะเหนือราชวงศ์เก่าที่ละโว้
(ผู้นำนอกเชื้อสายที่รวมจักรวรรดิเจนละบกและเจนละน้ำเป็นหนึ่งเดียว อุปถัมภกทั้งพุทธและฮินดู) |
พ.ศ.1553-1593 (ค.ศ.1002-1049) |
ปราสาทคลังใต้, ปราสาทพระวิหารในเทือกเขาดงรัก, ปราสาทพิมานอากาศและพระราชวังหลวง สูริยพรต (นักบวช)? ณ พนมชีศูร ปราสาทพระขรรค์ ที่กำปง สวาย, บารายตะวันตก, ปราสาทวัดพู (South Khleang, Preah Vihear in the Dangrek Mountains, Pimeanakas and the Royal Palace, Suryaparvata at Phnom Chisor, Preah Khan at Kompong Svay, West Baray, Wat Phu) |
พระวิหาร พ.ศ.1560-1593 (ค.ศ.1002-1050)
จารึกศาลสูง, วังสวนผักกาด, พิมาย, พนมวัน, ปราสาทเมืองต่ำ 2, เกลียง, คลัง
ปราสาทพระวิหาร สระกำแพงใหญ่ ตาเมือนธท ภูเพ้ก บ้านหลวง จารึกพิมาย 2 หลัก กล่าวถึงพระนามศรีเศารายวรมัน/มุนีราทัศมะ และการถวายความเคารพ |
14. พระเจ้าอุทัยทิตยวรมเทวะที่ 2 (Udayadityavarman II) |
พ.ศ.1593-1609 (ค.ศ.1050-1066) |
ปราสาทบาปวน, ปราสาทแม่บุญ - บารายตะวันตก (Bapuon, West Maebon) |
บาปวน
พ.ศ.1593-1620 (ค.ศ.1050-1090), จารึกพนมวัน, พิมาย, จารึกสด๊กก๊อกธม, ปราสาทสด๊กก๊อกธม, เขาปู่จ่า, นารายณ์เจงเวง |
15. พระเจ้าหรรษวรมเทวะที่ 3 (Harshavarman III) (สหศิวบท) |
พ.ศ.1609-1623 (ค.ศ.1066/7-1080) |
เมืองพระนคร (พระเชษฐา ยุคสมัยที่ขัดแย้ง สงครามกับจามไม่มีการสร้างปราสาทใหม่) ปราสาทพนมวัน 2 |
16. พระเจ้านฤปตินทรทิตยวรมเทวะ |
พ.ศ.1623 |
เมืองพระนคร (สิ้นสุดราชวงศ์ ศารวะ) |
17. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 6 (Jayavarman VI) (บรมไกวัลยบท) |
พ.ศ.1623-1650 (ค.ศ.1080-c.1107) |
ปราสาทพิมายในประเทศไทย (Phimai) เมืองวิมายะปุระ เมืองพระนคร (อำนาจจากเขมรสูงเข้าครองพระนคร ต้นราชวงศ์มหิธระปุระ) |
พิมาย พ.ศ.1623-1650 (ค.ศ.1080-1112) จารึกพิมาย กมรเตงอัญศรีพิเรนทราธิบดีล โฉกวะกุลี (ดงดอกพิกุล) จารึกพนมวัน ปราสาทพนมวันช่วง 3
กมรเตงอัญศรีวิเรนทรธิปติ ปราสาทหินพิมาย, ศรีวิเรนทราศรม พ.ศ.1655 - สังควัชรปุณณมี |
18. พระเจ้าธรณินทรวรมเทวะที่ 1 (Dharanindravarman I) (บรมนิษกลบท) |
พ.ศ.1650-1656 (ค.ศ.1107-1112) |
เมืองพระนคร (ถูกชิงอำนาจจากพระญาติสายเมืองพระนครเดิม) |
19. พระเจ้าสูริยวรมเทวะที่ 2 (Suryavarman II) (บรมวิษณุโลก)
แคว้นเจ้าพระยาแยกตัว |
พ.ศ.1656-ประมาณ 1693 (ค.ศ.1113-c.1150) |
นครวัด, ปราสาทธมมานนท์, ปราสาทเจ้าสายเทวดา, บันทาย สำเหร่, ปราสาทพนมรุ้ง พ.ศ.1693 (ในประเทศไทย) ปราสาทเบงมาเลีย ปราสาทพระพิธูร ทรงสร้างสืบต่อปราสาทพนมชีศูร (พนมชีสอร์) ปราสาทพนมสัณฏาก (Angkor Wat, Thommanon, Chao Say Tevoda, Banteay Samré, Phnom Rung, Beng Mealea) (ชิงบัลลังก์ รวบรวมจักรวรรดิเป็นปึกแผ่น สงครามกับไดเวียด จัมปาและมอญ สร้างมหาปราสาทนครวัด) |
นครวัด พ.ศ.1650-1720 (ค.ศ.1110-1180), ศรีขรภูมิ, ศรีเทพ |
20. พระเจ้าธรณินทรวรมเทวะที่ 2 (Dharanindravarman II) |
พ.ศ.1693-1703 (ค.ศ.1150-1160) |
เมืองวิมายะปุระ - พระนคร (สงครามกับจัมปา อุปถัมภกพุทธมหายาน) ศาลตาผาแดง (ดู 08. ศาลตาผาแดง-สุโขทัย), ปราสาทเบ็งเมเลีย ปราสาทบันทายสำเหร่ |
21. พระเจ้ายโศวรมเทวะที่ 2 (Yasovarman II) สงครามจามปา สวรรคตจากการแย่งชิงอำนาจ |
พ.ศ.1703-17xx??(ค.ศ c.1150-1165) |
ปราสาทเบงมาเลีย, ปราสาทเจ้าสายเทวดา, บันทาย สำเหร่ ปราสาทบากอง (Beng Mealea, Chao Say Tevoda, Banteay Samré, Bakong) |
เบ็งเมเลีย พ.ศ.1700-1710 (ค.ศ.1157-1167) วัดพระพายหลวง, มหาธาตุลพบุรี, มหาธาตุอโยธยา |
22. พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมเทวะ (Tribhuvanadityavarman) |
พ.ศ.17xx?-1720) (ค.ศ.c.1165-1177) |
พ่ายสงครามอาณาจักรจัมปา |
จามยึดครองเมืองยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) - สงครามปลดแอก 4 ปี พ.ศ.1720-1724 (ค.ศ.1177-1181) |
23. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 7 (Jayavarman VII) (มหาบรมสุคตบท)
ชนะพระราชาตะวันตก |
พ.ศ.1724 - 1763 (ค.ศ.1181-c.1220) |
ปราสาทตาพรหม, ปราสาทพระขรรค์, ชยตฏากะ บาราย, ปราสาทนาคพัน, ปราสาทตาสม, ปราสาทตาไน, ปราสาทบันทายฉมาร์ อังกอร์ธม, ปราสาทจรุง, ปราสาทบายน (สถานบรรยงค์), ลานช้าง, ปราสาทตาพรหมเกล, อโรคศาลา, ปราสาทกรอลโก, สระสรง, พระราชวังหลวง (Ta Prohm, Preah Khan, Jayatataka Baray, Neak Pean, Ta Som, Ta Nei, Banteay Chhmar in NW Cambodia, Angkor Thom, Prasats Chrung, Bayon, Elephant Terrace, Ta Prohm Kel, Hospital Chapel, Krol Kȏ, Srah Srang, Royal Palace) |
บายน พ.ศ.1724-1783 (ค.ศ.1180-1240), จารึกอโรคยศาลา, พระขรรค์, ตาพรหม, ปราสาทตอว์, ปราสาทแบบโลเกศวร ปราสาทอานุภาพ วหนิคฤหะ อโรคยศาลา (102 แห่ง), กู่บ้านแดง, ที่พักคนเดินทางหรือธรรมศาลา (121 แห่ง) |
24. พระเจ้าอินทรวรมเทวะที่ 2 (Indravarman II)
แว่นแคว้นตะวันตก (เจ้าพระยา) เริ่มแยกตัว จักรวรรดิจัมปาเป็นเอกราช |
พ.ศ.1763-1786 (ค.ศ.c.1220-1243) |
ปราสาทซัวปรัต (นักวิชาการบางท่านเรียกว่า ปราสาทเสาเปรต) ปราสาทตาพรหม ปราสาทบันทายกุฎี ปราสาทตาสม ปราสาทตาไน (Prasat Suor Prat, Ta Prohm, Banteay Kdei, Ta Som, Ta Nei) |
25. พระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 8 (Jayavarman VIII) (ปรเมศวรบท)
(จักรวรรดิแตกสลาย ลวปุระ/อโยธยา สุโขทันแยกตัวเป็นอิสระ ปรากฎอิทธพลของมองโกลในยุคของกุบไลข่าน บ้านเมืองนอกกัมพุชเทศะถูกตัดขาดจากเมืองพระนครหลวง) |
พ.ศ.1786-1838 (ค.ศ.c.1243-1295) |
ปราสาทด้านตะวันออก (មង្គលាថ៌) ปราสาทพระป่าเลไลยก์? ปราสาทบายน ปราสาทตาพรหม ปราสาทพระขรรค์ ปราสาทจรุง นครวัด ปราสาทบาปวน ปราสาทเจ้าสายเทวดา ปราสาทบันทายสำเหร่ ปราสาทเบงมาเลีย ลานพระเจ้าขี้เรื้อน ลานช้าง ปราสาทพระพิธู พระราชวังหลวง (Mangalartha, Preah Palilay?, Bayon, Ta Prohm, Preah Khan, Prasats Chrung, Angkor Wat, Baphuon, Chao Say Tevoda, Banteay Samré, Beng Mealea, Terrace of the Leper King, Elephant Terrace, Preah Pithu, Royal Palace) |
หลังบายน พ.ศ.1783-1973 (ค.ศ.1240-1430) |
26. พระเจ้าอินทรวรมเทวะที่ 3 (Srei Indravarman III) บ้างก็เรียก ศรีนทรวรมเทวะ (Sridravarman) |
พ.ศ.1838-1850 (1295-1307) |
ปราสาทตาพรหม ปราสาทพระพิธู ปราสาทพระป่าเลไลยก์ (Ta Prohm, Preah Pithu, Preah Palilay)
โจวต้ากว้าน ทูตมองโกล พ.ศ.183913 |
27. พระเจ้าอินทรชัยวรมเทวะ (Srindrajayavarman) บ้างก็เรียก ศรีนทรชัยวรมเทวะ |
พ.ศ.1850-1870 (ค.ศ.1307-1327) |
ผู้คนเริ่มอพยพออกจากเมืองพระนครหลวง ไปตั้งชุมชนบริเวณจุดตัดของแม่น้ำโขงกับโตนเลสาบที่จัตุรมุข เมืองละแวก และเมืองพนมเปญ |
28. พระเจ้าแตงหวาน หรือ พระเจ้าตระซ็อกประแอม (Trasak Paem) หรือ พระองค์ชัย (Ponhea Chey) |
พ.ศ.1879-1883
(ค.ศ.1336-1340 ???) |
เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ในราชสกุลนโรดม |
29. พระเจ้าชัยวรมเทวะปรเมศวร (พระบรมลำพงษ์ราชา) (Jayavarman IX or Jayavarman Paramesvara) |
พ.ศ.1870-? (ค.ศ.1327-1353?) |
พระนามกษัตริย์องค์สุดท้ายที่ปรากฎในจารึกยุคเมืองพระนคร
พระนามที่ลงท้ายวรมเทวะ สันนิษฐานว่ามาแต่งเสริมทีหลัง ด้วยเพราะพระเจ้าแตงหวาน หรือ พระเจ้าตระซ็อกประแอม หรือ พระองค์ชัย ได้โคนล้มราชวงศ์วรมเทวะ จนหมด |
ปี พ.ศ.1974 นครแถบลุ่มน้ำเจ้าพระยา โดยเจ้าสามพระยา? (อโยธยา) ยกทัพเขมรอโยธยา (ละโว้ปุระเดิม) บุกทำลายเมืองพระนครหลวง หมดยุคเทวราชาโดยสมบูรณ์ (ค.ศ.1430) |