MENU
TH EN

บทนำ: สถานที่ ศาสนสถานที่สำคัญในอุษาคเนย์และชมพูทวีป

Title Thumbnail: มหาเจดีย์ชเวดากอง ย่างกุ้ง เมียนม่าร์ ถ่ายไว้เมื่อ 24 มีนาคม 2560 
บทนำ: สถานที่ ศาสนสถานที่สำคัญในอุษาอาคเนย์และชมพูทวีป
First revision: Aug.14, 2021
Last change: Aug.03, 2023

สืบค้น รวบรวม เรียบเรียง และปริวรรตโดย อภิรักษ์ กาญจนคงคา.

       ใคร่ขอประมวลสถานที่ และศาสนสถาน (พุทธ พราหมณ์-ฮินดู) ที่สำคัญไว้ในห้องนี้ดังนี้

ชมพูทวีป01. หรือ อนุทวีปอินเดีย
   ที่/รหัส  ชื่อ  อังกฤษ/ภาษาอื่น ๆ  ที่ตั้ง  หมายเหตุ
   IND-001  (หมู่) ถ้ำอชันตา  Ajanta Caves, มราฐี: अजिंठा लेणी  เมืองออรังคบัด รัฐมหาราษฎระ อินเดีย  
   IND-002  (หมู่) ถ้ำเอลโลรา  Ellora Caves, มราฐี: वेरूळ  เมืองออรังคบัด รัฐมหาราษฎระ อินเดีย  
           
           

อุษาคเนย์
   ที่/รหัส  ชื่อ  อังกฤษ  ที่ตั้ง  หมายเหตุ
   001  นครวัด  Angkor Wat  จ.เสียมเรียบ กัมพูชา  
   002  ปราสาทบายน  Bayon Sanctuary  จ.เสียมเรียบ กัมพูชา  
   003  พระมหาเจดีย์ชเวดากอง  Shwedagon Pagoda  เมืองย่างกุ้ง เมียนม่าร์  
   004  พระมหาธาตุนครศรีธรรมราช  Phra Mahathat Woramahawiharn Temple  จ.นครศรีธรรมราช ประเทศไทย  
   005  พระมหามัยมุนี  Bouddha Mahamuni or Mahamuni Buddha  เมืองมัณฑะเลย์ เมียนม่าร์  
   006  พระราชวังมัณฑะเลย์  The Royal Mandalay Palace  เมืองมัณฑะเลย์ เมียนม่าร์  
   007  วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร   Phra Si Rattana Mahathati Temple  พิษณุโลก ประเทศไทย  มี พระพุทธชินราช เป็นพระประธาน
   008   วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี  Phrasi Rattana Mahathat Temple, Lopburi  ลพบุรี
ประเทศไทย
 
   010  วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ  Phra Fang Temple  อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์  
ภาพเดิม พระฝาง ปัจจุบันประดิษฐานบนบุษบก หน้าพระวิหารสมเด็จ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพฯ, ที่มา: Facebook เพจ "บันทึกประวัติศาสตร์," โดยผู้ใช้นามว่า Thongchai Nanil Tigerfish, วันที่เข้าถึง 15 มกราคม 2565.
           
   208 วัดป่าเลไลย์วรวิหาร   Pa Lelai Worawihan Temple  จ.สุพรรณบุรี ประเทศไทย  
 วัดไทยในภาคกลาง
   TC001  วัดตูม  Taum Temple  จ.อยุธยา  
           
 ศิลปะลาวในประเทศไทย
   LT001  วัดตะคุ (วัดหน้าพระธาตุ)  Taku Temple  จ.นครราชสีมา   
  LT002  วัดพระโต (พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ)  Phra To Temple  จ.อุบลราชธานี   
           
           
           
 ศิลปะไทยในพม่า
   TB001  วัดบากะยา02.
 Bakaya Temple  เมืองอังวะ
เขตมัณฑะเลย์ พม่า
 วัดเก่าแก่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าพะคยีดอว์ หรือพระเจ้าจักกายแมง ตั้งอยู่นอกกรุงอังวะไปทางทิศใต้ หากมองจากภายนอก วัดแห่งนี้ดูเผิน ๆ คล้ายกับวัดพม่าทั่วไป ตัววัดสร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง มีอาคารเรือนยอดปราสาทไม้ 7 ชั้นตั้งอยู่คู่กับตัววิหารตรงกลางที่มีหลังคาไม้แกะสลักเป็นชั้น ๆ ตามศิลปะแบบพม่า แต่เมื่อเข้าไปข้างในก็พบร่องรอยของชาวโยเดียที่เราตามหา นั่นคือ เสาไม้สักที่ประดับด้วยรูปแกะสลัก “ครุฑยุดนาค” ซึ่งอาจารย์มิกกี้ ผู้เชี่ยวชาญของพม่าอธิบายว่า ลักษณะพิเศษของรูปแกะสลักครุฑตนนี้ คือ เครื่องแต่งองค์ของครุฑที่ไม่ใช่พม่าร้อยเปอร์เซ็นต์ รวมทั้งยังมีชฎาที่สวมบนเศียรครุฑ ที่มีลักษณะศิลปะแบบอยุธยาอย่างชัดเจน สะท้อนให้เห็นฝีมือของเชิงช่างเชื้อสายชาวโยเดียที่ฝากไว้ในงานพุทธศิลป์ท้องถิ่นในบริเวณนี้
           
           
 
หมายเหตุ อธิบายรหัสย่อ
   TC = ไทยภาคกลาง
   TN = ไทยภาคเหนือ
   TNE = ไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
   LT = ศิลปะลาวในประเทศไทย
   TB = ไทยในพม่า



ที่มา คำศัพท์ และคำอธิบาย:
01. ชมพูทวีป (ภาษาสันสกฤตตัวอักษรเทวนาครี: जम्बुद्वीप, Jambudvīpa, บาฬี: Jambudīpa) มีความหมายได้ 3 ประการ หนึ่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังกลาเทศในปัจจุบัน มีชื่อเรียกทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า “เอเชียใต้”, “อนุทวีปอินเดีย”, หรือ “ภารตวรรษ” (Bharatavarsha, भारतवर्ष) สอง) ทวีปใหญ่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเมรุซึ่งเป็น 1 ใน 4 ทวีปของชาวภารตะ (อุตรกุรุทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป) และ สาม)  ดินแดนแห่งต้นหว้า "ชมพู" หมายถึง "ต้นหว้า" ที่มีอยู่ทั่วไปในท้องถิ่นอินเดีย
02. จาก. Facebook เพจ "นครประวัติศาสตร์ กรุงศรีอยุธยา," โดยผู้ใช้นามว่า Zencross Zagmae, วันที่เข้าถึง 18 กันยายน 2564. 
humanexcellence.thailand@gmail.com